ITA 2024 : การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ Open Data Integrity and Transparency Assessment (OIT)
[ ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ]
เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของสถานศึกษา เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5 ประเด็นตัวชี้วัดย่อย คือ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
ตัวชี้วัดย่อยที่ 2 การบริหารงาน ได้แก่ แผนดำเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 3 การบริหารเงินงบประมาณ ได้แก่ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี และการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
ตัวชี้วัดย่อยที่ 4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล และหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดย่อยที่ 5 การส่งเสริมความโปร่งใสในสถานศึกษา ได้แก่ การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ และการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วมการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำเนินงานของสถานศึกษา ทั้งนี้การเปิดเผยข้อมูลพิจารณาจาก 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบของการเปิดเผย และองค์ประกอบของข้อมูล โดยจะต้องสอดคล้องตามเงื่อนไขครบถ้วนทั้ง 2 องค์ประกอบ จึงจะถือว่าเป็นการเปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์การประเมินที่กำหนด เงื่อนไข คือ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ผ่าน URL และข้อมูลเผยแพร่ที่เว็บไซต์หลักของหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย (33 ข้อมูล) ดังนี้
[table id=8 /]
การบริหารงาน
[table id=9 /]
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
[table id=10 /]
[table id=14 /]
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
[table id=16 /]
[table id=18 /]
[table id=20 /]
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
[table id=22 /]
[ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ]
เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของสถานศึกษา เพื่อเปิดเผยการดำเนินการต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้รับทราบ 2 ประเด็น คือ 1. การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจำนงสุจริตของผู้อำนวยการ สถานศึกษา การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต 2. มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสำคัญต่อผลการประเมินเพื่อนำไปสู่การจัดทำมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสภายในสถานศึกษา และมีการกำกับติดตามการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย (10 ข้อมูล) ดังนี้
[table id=23 /]
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
[table id=24 /]
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
[table id=25 /]
แผนป้องกันการทุจริต
[table id=26 /]
ตัวชี้วัดย่อย 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
[table id=27 /]